dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #240 เมื่อ: กันยายน 07, 2018, 09:15:42 pm » |
|
myHPA_9 by St Lim, on Flickr เพิ่งจะได้ทดลองฟังแอมป์ ECL84 SE UL amp ไปออกลำโพง ตอนแรกก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่า มันจะขับลำโพงแบบนี้ไหวมั้ย? ก็เป็นลำโพงกระดาษขนาด 4นิ้ว ไม่ไว อย่างเก่งก็85dB แต่ด้วยความที่ดอกลำโพงมีขนาดเล็ก ยังไงก็น่าจะขับได้ ลองฟังตอนแรก ก็เสียงแย่ๆหน่อย เสียงย่านบนมั่วๆไปหมด รอจนผ่านไปสักสี่สิบนาที เสียงจึงค่อยลงตัว ลักษณะเสียงของแอมป์ตัวนี้ ซาวน์สเตจ ไม่ใหญ่มาก รายละเอียดเยอะ แบนด์วิธก็ดีพอสมควร คือเบสลึกๆก็มาน่ะ แต่เบสต้นๆมันหายไปหน่อยนึง อันนี้ก็แปลกเหมือนกัน เสียงกลางเด่นมาก มีความนุ่มนวล แต่ก็เป้นเสียงที่เก็บตัวเร็ว ย่านเสียงแหลมก็แพรวพราวดี แล้วเสียงก็เก็บตัวเร็วเหมือนกัน ฮาร์โมนิคส์ มีแน่นอน แต่ไม่ทอดยาว อาจจะเป็นเพราะเร็กกูเลทเยอะๆๆๆ สำหรับใครที่จะทำเพาเวอร์แอมป์เล็กๆ ไม่จำเป็นที่จะต้องเร็กกูเลทก็ได้น่ะ แอมป์ตัวนี้ ผมอยากให้ลองทำเล่นในแบบที่ไม่มีฟีดแบ็คดูน่ะครับ ถึงแม้จะเป็นแอมป์เล็กๆแต่เสียงเร็วมาก ไม่อืดเลย สำหรับเรื่อง กำลังวัตต์ หลังจากที่ผมได้ทดลองต่อออกลำโพงวันนี้ ผมไม่แน่ใจจริงๆว่า มันจะได้สักกี่วัตต์กันแน่? อาจจะถึง2วัตต์ก็เป็นไปได้ ส่วนกระแส Ik ข้างซ้ายผมวัดได้ 14mA ข้างขวา 16mA กระแสน้อยมากจริงๆ แต่นี่แหละหลอดเพนโธด efficiency สูงมาก เป็นแอมป์ที่ทำเล่นหนุกๆแล้วได้เสียงที่ดีด้วย ผมลืมบอกไปว่า ECL84/6DX8 แต่เดิมเป็นหลอดทีวีน่ะครับ แล้วก็อาจจะมีลูกเล่นเพิ่มเติมอีกนิดนึงคือ ภาคเพนโธด สามารถขับได้ด้วยแรงดัน 2V ก็ทำงานได้แล้ว ดังนั้นใครอยากจะโมลองตัดภาคไตรโอดออกไปดู แล้วทำเป็นแอมป์แบบซิงเกิ้ลทิวบ์ หลอดเดี่ยวๆเซ็คชั่นเดี่ยวๆนี่ มีดีตรงที่ เฟสดิสทอร์ชั่น ตำ่กว่าแอมป์หลายสเตจน่ะ
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 07, 2018, 09:17:37 pm โดย dust »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Tronik
Permanent Member
Newbie
  
ออฟไลน์
กระทู้: 44
|
 |
« ตอบ #248 เมื่อ: กันยายน 10, 2018, 08:04:07 pm » |
|
ทดลองประกอบ PCL84 แบบฮาร์ดไวล์ โมโน ใช้กับลำโพง, พอดีมีแท่นเก่าๆอยู่ เอามาปรับใช้ก่อนครับ ยังอยู่ในขั้นตอนที่ 2, ยังติดอยู่ที่ข้อ3 เนื่องจากไม่มี OPT แบบ UL   1 B+ : bridge diode + 47uf --> 242vdc (ยังไม่ได้ใส่หลอด) 2 ไฟจุดใส้หลอด 0-15 vac (ไม่มีแท็ป CT) 2.1 โดยต่อแท็ปข้างหนึ่งลงกราว์ด 2.2 หรือต้องใช้ R สองตัวทำ center tap ลง gnd และถ้าใช้ ต้องใช้ค่าเท่าไรครับ (ไฟ15vac) 3 มี OPT 5k/7k 3.1 ถ้านำมาต่อใช้แบบ UL จะได้มั้ย โดยใช้ แท็ป 5k เป็น UL? 3.2 ถ้าได้ จะใช้แท็ปใด ต่อกับ B+ ดีครับ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #252 เมื่อ: กันยายน 19, 2018, 07:02:42 pm » |
|
K246_J103 by St Lim, on Flickr มีเพื่อนฝูงมาขอให้ช่วยทำแอมป์ให้ และก็มีเจเฟ็ทคู่นี้มาด้วย เลยจับใส่เป็นภาคอินพุท เป็นคู่เจเฟ็ทที่เพิ่งจะเคยได้ฟังเสียง ผมจำได้ว่าเมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว เคยอ่านที่อาจารย์อาร์ตแนะนำไว้ว่า ถ้าหาเบอร์ K170,J74 ไม่ได้ ก็ให้ใช้คู่นี้แทน สมัยก่อนนั้นที่ร้านนัดพงยังมีเบอร์นี้ขายอยู่เลย ส่วนคู่นี้มาจากอีเบย์ครับ เสียงของ K246,J103 ผมว่าออกจะไปทางนุ่มนวลเนียนกว่า K170,J74 ซึ่งคู่หลังนี้จะฟังแล้วออกไปทางจะแจ้งกว่าเบสหนักแน่นกว่า มิน่าล่ะว่าทำไมใครๆถึงจะหาแต่ K170,J74 ความโดดเด่นของเจเฟ็ทโตชิบา จะบังเกิดต่อเมื่อมันมาเป้นคู่คอมพลีเมนทารี่ K+J ครับ ถ้ามามาเป็นคู่ K ทำดิฟแอมป์ ผมก็ยังไม่ชอบสักเท่าไร K246,J103 มี Idss rank เพียงแค่ BL เท่านั้น เอ่อ อันนี้ถ้าจำไม่ผิดน่ะ ส่วน K170,J74 จะมีถึง V กันเลยทีเดียว ถ้าทำเพาเวอร์แอมป์จริงๆ ก็ยังเสียเปรียบอยู่เหมือนกัน แต่สำหรับแอมป์หูฟัง BL ก็ดีแล้ว GR ก็ว่าโอเคอยู่ ในอีเบย์ยังมีเยอะครับ ราคาไม่หนักหนาเท่าไหร่นัก
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #255 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 10:15:27 am » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #256 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 10:18:35 am » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #257 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 10:20:32 am » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #258 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 10:22:07 am » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Tronik
Permanent Member
Newbie
  
ออฟไลน์
กระทู้: 44
|
 |
« ตอบ #259 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 11:55:15 am » |
|
ทดลองประกอบ PCL84 แบบฮาร์ดไวล์ โมโน ใช้กับลำโพง, พอดีมีแท่นเก่าๆอยู่ เอามาปรับใช้ก่อนครับ ยังอยู่ในขั้นตอนที่ 2, ยังติดอยู่ที่ข้อ3 เนื่องจากไม่มี OPT แบบ UL
1 B+ : bridge diode + 47uf --> 242vdc (ยังไม่ได้ใส่หลอด) 2 ไฟจุดใส้หลอด 0-15 vac (ไม่มีแท็ป CT) 2.1 โดยต่อแท็ปข้างหนึ่งลงกราว์ด 2.2 หรือต้องใช้ R สองตัวทำ center tap ลง gnd และถ้าใช้ ต้องใช้ค่าเท่าไรครับ (ไฟ15vac) 3 มี OPT 5k/7k 3.1 ถ้านำมาต่อใช้แบบ UL จะได้มั้ย โดยใช้ แท็ป 5k เป็น UL? 3.2 ถ้าได้ จะใช้แท็ปใด ต่อกับ B+ ดีครับ
2. ในกรณีที่ทำไฟเอซีที่ฟิลาเมนท์ ผมเลือกใช้วิธี 2.2 ค่าตัวต้านทานก็อาจจะสัก 20 + 20  , ถ้าให้ดีก็ใส่ hum pot เลย 3. ไม่สามารถนำแท็ป 5K มาทำเป็น UL ได้ เรื่องจากว่า UL mode นั้นเป็นฟีดแบ็คระหว่าง เพลทกับ g2 ค่าไม่ควรเกิน 50% ของฝั่งไพรมารี่อิมพีแดนซ์ ไม่งั้นเกนจะลดลงไป สำหรับเอาท์พุทค่าที่เหมาะสมสำหรับหลอด ECL84 ผมคิดว่าน่าจะอยู่ในช่วง 8 -10K ที่ใช้ 5K ก็ถือว่าพอยอมรับได้ ถ้ามีเอาท์พุท 5K-7K ผมแนะนำว่า น่าจะลองต่อแบบเพนโธดกับแท็ป 7K นั้นก็น่าจะดีแล้ว เพราะเพนโธดโหมดนั้น THD จะค่อนข้างสูงหน่อย ไว้ฟังเบื่อแล้วค่อยทดลองต่อไตรโอด กับแท็ป 5K ดู ว่าจะชอบอย่างไหนมากกว่ากัน ที่แนะนำให้ต่ไตรโอดกับแท็ป 5K โหลดมันจะได้ไม่สูงเกินไป ถ้าต่อกับโหลดค่าเยอะแล้ววัตต์คงจะลดลงไปอีก   เสร็จพอดี เสียงเบาไปนิดแต่ก็ออกหวานๆดี และยังบางๆอยู่ เร่งสุดเสียงจะแตก โวล์ทคร่อมRkp 4.4v ได้กระแสประมาณ16ma ใช้ c 0.1u แทน 0.22 uf ด้วย , 0.22 uf ยังหาไม่เจอ ไว้ค่อยเปลี่ยนอีกที
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #260 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 05:11:33 pm » |
|
ทดลองประกอบ PCL84 แบบฮาร์ดไวล์ โมโน ใช้กับลำโพง, พอดีมีแท่นเก่าๆอยู่ เอามาปรับใช้ก่อนครับ ยังอยู่ในขั้นตอนที่ 2, ยังติดอยู่ที่ข้อ3 เนื่องจากไม่มี OPT แบบ UL
1 B+ : bridge diode + 47uf --> 242vdc (ยังไม่ได้ใส่หลอด) 2 ไฟจุดใส้หลอด 0-15 vac (ไม่มีแท็ป CT) 2.1 โดยต่อแท็ปข้างหนึ่งลงกราว์ด 2.2 หรือต้องใช้ R สองตัวทำ center tap ลง gnd และถ้าใช้ ต้องใช้ค่าเท่าไรครับ (ไฟ15vac) 3 มี OPT 5k/7k 3.1 ถ้านำมาต่อใช้แบบ UL จะได้มั้ย โดยใช้ แท็ป 5k เป็น UL? 3.2 ถ้าได้ จะใช้แท็ปใด ต่อกับ B+ ดีครับ
2. ในกรณีที่ทำไฟเอซีที่ฟิลาเมนท์ ผมเลือกใช้วิธี 2.2 ค่าตัวต้านทานก็อาจจะสัก 20 + 20  , ถ้าให้ดีก็ใส่ hum pot เลย 3. ไม่สามารถนำแท็ป 5K มาทำเป็น UL ได้ เรื่องจากว่า UL mode นั้นเป็นฟีดแบ็คระหว่าง เพลทกับ g2 ค่าไม่ควรเกิน 50% ของฝั่งไพรมารี่อิมพีแดนซ์ ไม่งั้นเกนจะลดลงไป สำหรับเอาท์พุทค่าที่เหมาะสมสำหรับหลอด ECL84 ผมคิดว่าน่าจะอยู่ในช่วง 8 -10K ที่ใช้ 5K ก็ถือว่าพอยอมรับได้ ถ้ามีเอาท์พุท 5K-7K ผมแนะนำว่า น่าจะลองต่อแบบเพนโธดกับแท็ป 7K นั้นก็น่าจะดีแล้ว เพราะเพนโธดโหมดนั้น THD จะค่อนข้างสูงหน่อย ไว้ฟังเบื่อแล้วค่อยทดลองต่อไตรโอด กับแท็ป 5K ดู ว่าจะชอบอย่างไหนมากกว่ากัน ที่แนะนำให้ต่ไตรโอดกับแท็ป 5K โหลดมันจะได้ไม่สูงเกินไป ถ้าต่อกับโหลดค่าเยอะแล้ววัตต์คงจะลดลงไปอีก เสร็จพอดี เสียงเบาไปนิดแต่ก็ออกหวานๆดี และยังบางๆอยู่ เร่งสุดเสียงจะแตก โวล์ทคร่อมRkp 4.4v ได้กระแสประมาณ16ma ใช้ c 0.1u แทน 0.22 uf ด้วย , 0.22 uf ยังหาไม่เจอ ไว้ค่อยเปลี่ยนอีกที ต้องไปขับลำโพงเล็กๆไวๆหน่อย ก็อย่างว่าน่ะกระแสแค่ 16mAเท่านั้นเอง จะเอาไรมาก แต่แอมป์แบบนี้ ถ้าจะทำฟังเพลงกันจริงๆ ผมว่าใช้ฟังเป็นแบคกราวน์มิวสิคกับลำโพงเล็กๆกำลังดี ไม่ถึงกับฟังอะไรที่จริงจังมากมาย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
Tronik
Permanent Member
Newbie
  
ออฟไลน์
กระทู้: 44
|
 |
« ตอบ #261 เมื่อ: ตุลาคม 07, 2018, 07:31:14 pm » |
|
ทดลองประกอบ PCL84 แบบฮาร์ดไวล์ โมโน ใช้กับลำโพง, พอดีมีแท่นเก่าๆอยู่ เอามาปรับใช้ก่อนครับ ยังอยู่ในขั้นตอนที่ 2, ยังติดอยู่ที่ข้อ3 เนื่องจากไม่มี OPT แบบ UL
1 B+ : bridge diode + 47uf --> 242vdc (ยังไม่ได้ใส่หลอด) 2 ไฟจุดใส้หลอด 0-15 vac (ไม่มีแท็ป CT) 2.1 โดยต่อแท็ปข้างหนึ่งลงกราว์ด 2.2 หรือต้องใช้ R สองตัวทำ center tap ลง gnd และถ้าใช้ ต้องใช้ค่าเท่าไรครับ (ไฟ15vac) 3 มี OPT 5k/7k 3.1 ถ้านำมาต่อใช้แบบ UL จะได้มั้ย โดยใช้ แท็ป 5k เป็น UL? 3.2 ถ้าได้ จะใช้แท็ปใด ต่อกับ B+ ดีครับ
2. ในกรณีที่ทำไฟเอซีที่ฟิลาเมนท์ ผมเลือกใช้วิธี 2.2 ค่าตัวต้านทานก็อาจจะสัก 20 + 20  , ถ้าให้ดีก็ใส่ hum pot เลย 3. ไม่สามารถนำแท็ป 5K มาทำเป็น UL ได้ เรื่องจากว่า UL mode นั้นเป็นฟีดแบ็คระหว่าง เพลทกับ g2 ค่าไม่ควรเกิน 50% ของฝั่งไพรมารี่อิมพีแดนซ์ ไม่งั้นเกนจะลดลงไป สำหรับเอาท์พุทค่าที่เหมาะสมสำหรับหลอด ECL84 ผมคิดว่าน่าจะอยู่ในช่วง 8 -10K ที่ใช้ 5K ก็ถือว่าพอยอมรับได้ ถ้ามีเอาท์พุท 5K-7K ผมแนะนำว่า น่าจะลองต่อแบบเพนโธดกับแท็ป 7K นั้นก็น่าจะดีแล้ว เพราะเพนโธดโหมดนั้น THD จะค่อนข้างสูงหน่อย ไว้ฟังเบื่อแล้วค่อยทดลองต่อไตรโอด กับแท็ป 5K ดู ว่าจะชอบอย่างไหนมากกว่ากัน ที่แนะนำให้ต่ไตรโอดกับแท็ป 5K โหลดมันจะได้ไม่สูงเกินไป ถ้าต่อกับโหลดค่าเยอะแล้ววัตต์คงจะลดลงไปอีก เสร็จพอดี เสียงเบาไปนิดแต่ก็ออกหวานๆดี และยังบางๆอยู่ เร่งสุดเสียงจะแตก โวล์ทคร่อมRkp 4.4v ได้กระแสประมาณ16ma ใช้ c 0.1u แทน 0.22 uf ด้วย , 0.22 uf ยังหาไม่เจอ ไว้ค่อยเปลี่ยนอีกที ต้องไปขับลำโพงเล็กๆไวๆหน่อย ก็อย่างว่าน่ะกระแสแค่ 16mAเท่านั้นเอง จะเอาไรมาก แต่แอมป์แบบนี้ ถ้าจะทำฟังเพลงกันจริงๆ ผมว่าใช้ฟังเป็นแบคกราวน์มิวสิคกับลำโพงเล็กๆกำลังดี ไม่ถึงกับฟังอะไรที่จริงจังมากมาย เดี๋ยวไว้ค่อยๆลองต่อไปครับ ขอบคุณครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #262 เมื่อ: ธันวาคม 21, 2018, 07:28:50 pm » |
|
MyHPA_SDSLabs by St Lim, on Flickr ไม่ได้เข้ามานานแล้ว ส่งท้ายปีด้วยแอมป์ดีไซน์เก๋ากึ๊ก SDS Labs Mosfet HPA เป็นแอมป์ที่ผมคิดจะทำเมื่อนานมากแล้ว แต่ลืมไปจนไม่ได้ทำ วันก่อนไปรื้อๆของ เพิ่งเจอว่ายังมี IRF610/9610, IRFZ24N, IRF9Z34N อยู่สิบกว่าตัว pwxqคิดอยู่นานเมือนกันว่าเราซื้อมาทำไมเยอะแยะน่ะ แล้วก็นึกได้ว่า คงจะเป็นมอสเฟ็ทแอมป์อะไรสักอย่าง เลยไปลองค้นวงจรดู ก็เลยเจอ SDS Labs เป็นแอมป์ที่ ภาคเกนเสตจใช้ออปแอมป์ แล้วไปออกบัฟเฟอร์มอสเฟ็ท วงจรนี้ผมก็ไม่ทราบว่า เป็นเวอร์ชั่นที่เท่าไหร่ เพราะเท่าที่พอจะจำได้ Sheldon Stoke ออกแบบวงจรนี้ไว้ยี่สิบกว่าปีที่แล้ว สมัยที่ Headwize ของคุณ Chu Moy ยังแอคทีฟมากๆ คุณChu Moy ผู้ออกแบบ CMoy แอมป์ นี่แกเพิ่งจะเสียไปเมื่อปี 2016 สำหรับบอร์ดนี้ผมตั้งใจเลือกใช้ LME49710 + IRF610/9610 เพื่อจะได้เทียบเสียงกับ WHAMMY ด้วย
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: ธันวาคม 21, 2018, 08:05:28 pm โดย dust »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #263 เมื่อ: ธันวาคม 21, 2018, 07:44:11 pm » |
|
SDSLabs_HPA_5 by St Lim, on Flickr วงจรก็อันนี้เลย เป็นแอมป์ที่เรียบๆง่ายๆ ที่ผมทำก็มีแตกต่างออกไปบ้างนิดหน่อย ที่ตำแหน่ง ทรานซิสเตอร์ ไบแอส เรกูเลเตอร์ ผมใช้ 2N4401 เรื่องของเรื่องก็ไม่มีอะไรมาก ถ้าผมค้นเจอเบอร์ไหนก่อน ผมก็ใช้เบอร์นั้นแหละ พวก R,C ก็รื้อค้นเอาของที่มีอยู่ออกมาใช้ ไม่ได้จเาะจงอะไรเป้นพิเศษ เจออะไรก็ใช้อันนั้น เสียง SDS Labs VS WHAMMY? ประเด็นแรกเลยน่ะ ย่านเสียงแหลมของ SDS Labs จะราบเรียบ ไม่มีcoloration ล้นๆแบบWHAMMY เสียงกลาง WHAMMY เสียงจะล้ำออกมาด้านหน้ามากกว่า ฟังโดยรวมเป็นแอมป์ที่มีพลังมาก ส่วน SDS Labs เสียงราบเรียบ อย่างที่ควรจะเป็น ไม่มาก ไม่น้อย พอดีๆ เสียงเบส แน่นอนว่า WHAMMY เบสแรงกว่าพอสมควร แต่ก็ไม่ถึงกับว่าแอมป์ SDS Labs จะขาดเบสไปอย่างนั้น มันมีเบสแบบที่โอเค ไม่มาก ไม่น้อย ซาวน์สเตจของ WHAMMY ใหญ่มาก ให้ความรู้สึกโอบล้อมได้ดี ส่วน SDS Labs ด้านกว้างทำได้ดี อาจจะไม่กว้างมากเท่าเพื่อน แต่สมดุลด้านกว้างและลึกทำได้ดีมาก ส่วนรายละเอียดผมว่าดีพอๆกัน โทนเสียง WHAMMY จะออกไปทางคัลเล่อร์มากๆ อาจจะเหมาะกับแนวเพลงร่วมสมัยที่เป็นดิจิตอลมากๆ SDS Labs ให้โทนเสียงได้สมดุลดี ไม่มีอะไรล้น เหมาะมากกับการฟังเพลง ให้ฟีลลิ่งของความเป็นอนาล็อกมากกว่า โดยส่วนตัวผมชอบ SDS Labs มากกว่าน่ะ เพราะผมฟังเพลงเยอะ เป็นเพลงแบบคนแก่ฟังซะด้วยสิ แอมป์ตัวนี้ อาจจะไม่ถึงกับเก่งรอบตัวแบบ WHAMMY แต่เหมาะกับใครที่อยากจะฟังเพลงจริงจังสักหน่อย สุดท้ายแล้ว เชื่อหูของคุณเองดีที่สุด ผมก็พูดไปเรื่อยตามประสา a dog barking, a cat meowing!
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
dust
Moderator
Hero Member
    
ออนไลน์
กระทู้: 650

|
 |
« ตอบ #265 เมื่อ: ธันวาคม 21, 2018, 07:58:09 pm » |
|
MyHPA_APexHPA1 by St Lim, on Flickr Apex Headphone Amplifier_small by St Lim, on Flickr มาตบท้ายกันด้วยแอมป์หูฟังที่ไม่มีชื่อจาก Apex audio ที่ผมทำแอมป์อันนี้ เพราะวงจรมันช่างเหมือนกันกับ แอมป์ AX11 ที่ฮิตกันในบ้านเราเมื่อห้า-หกปีก่อน พอดียังมีเบอร์ทรานซิสเตอร์เหลือๆอยู่ก็งัดออกมาทำเล่นๆ รันไฟค่อนข้างสูง กระแสก็ค่อนข้างน้อยที่ 10mA อันนี้ถ้าผมเข้าใจไม่ผิดน่ะ ผมวัดได้แค่นี้เอง เลยคิดว่า Mile Slavkovic ผู้ออกแบบ คงจะตั้งใจทำแอมป์ไว้ขับหูฟัง อิมพีแดนซ์สูงๆ ผมก็เลยปรับหน่อยนึง ลดไฟลงเป้น 20V แล้วเปลี่ยนค่าอาร์ที่อีมิตเตอร์ใหม่ ให้กระแสไหลมากขึ้นเป็น ~21mA เสียงโดยรวม ผมว่ามันเหมือนกับเพาเวอร์แอมป์ AX11เลย เหมือนกันจริงๆ โทนเสียงอบอุ่น รายละเอียดอยู่ระดับกลางๆไม่มากไม่น้อย ซาวน์สเตจ ไม่กว้างมากแต่ก็สมดุลดีกับด้านลึก ในรูปข้างบน ซีอินพุทผมลองใช้ Shizuki 9uF/200V เสียงก็พอใช้ได้น่ะ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
|